1. นิยามของศูนย์
เมื่อแรกเกิด ลูกก็พร้อมที่จะเรียนรู้กับทุกสิ่งใหม่ ๆ รอบตัว การเลี้ยงดูลูกให้เติบโตสมบูรณ์ และมีพัฒนาการที่ดีรอบด้านตั้งแต่ก้าวแรกที่เกิดมา เป็นสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่มือใหม่ต้องพร้อมที่จะช่วยเสริมสร้างพัฒนาการลูกน้อยของคุณคลินิกพัฒนาการเด็ก ศูนย์กุมารเวชโรงพยาบาลศรีสวรรค์ กรุงเทพ ราชพฤกษ์ ตอบทุกคำถามเรื่องพัฒนาการเด็ก โดยกุมารแพทย์ด้านพัฒนาการและพฤติกรรม จะประเมินพัฒนาการของลูก และให้คำปรึกษาแก่คุณพ่อคุณแม่เกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการและการเลี้ยงดู หากเด็กคนใดมีพัฒนาการและพฤติกรรมไม่สมวัย มีปัญหาด้านการเรียน หรือมีปัญหาด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม รวมถึงเด็กที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาด้านพัฒนาการ เช่น เป็นโรคลมชัก คลอดก่อนกำหนด ดาวน์ซินโดรม ออทิสติก
2. Strength ของแผนก (อย่างน้อย 3 ข้อ)
จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น (Child and adolescent psychiatrist)
กุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาพัฒนาการและพฤติกรรม (Developmental and Behavioral pediatrician)
นอกจากนี้ยังมีบุคลากรสหวิชาชีพร่วมปฏิบัติงานด้วยได้แก่
นักจิตวิทยาคลินิกและนักจิตวิทยาพัฒนาการ (Psychologist) ซึ่งทำฝึกการเล่นเพื่อการบำบัดบำบัด (Play therapy)
นักกิจกรรมบำบัด (Occupational therapist)
นักแก้ไขการพูด (Speech-language pathologist , Speech therapist)
ครูการศึกษาพิเศษ (Special educator)
3. บริการตรวจวินิจฉัย เครื่องมือแพทย์ ที่เชื่อมโยงกับคนไข้
ทางคลินิกพัฒนาการเด็กมีทีมสหสาขาวิชาชีพร่วมกันให้การดูแลรักษา เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีขึ้น มีพฤติกรรมที่เหมาะสม สามารถเรียนรู้และอยู่ร่วมใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุขให้การดูแลเด็กๆ ทุกคน ทั้งที่เป็นเด็กปกติและเด็กที่มีความบกพร่องด้านพัฒนาการและพฤติกรรมดังนี้
1. เด็กปกติซึ่งมีพัฒนาการสมวัยอยู่แล้ว แพทย์เฉพาะทางของคลินิกพัฒนาการเด็กจะสามารถวัดความถนัดของเด็กและให้คำปรึกษาแก่ผู้ปกครอง เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงดูที่เหมาะกับพื้นอารมณ์และความถนัดตามแต่ละช่วงวัยของเด็กแต่ละคน ซึ่งมีความแตกต่างกัน จะช่วยให้เด็กๆ เก่งอย่างมีความสุข และสามารถเติบโตเผชิญกับโลกกว้างด้วยตนเองได้ในอนาคต
2. เด็กซึ่งผู้ปกครองสงสัยว่ามีความผิดปกติด้านพัฒนาการหรือพฤติกรรม ในปัจจุบันคลินิกพัฒนาการเด็ก มีแพทย์เฉพาะทางของคลินิกพัฒนาการเด็ก ได้แก่
จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น (Child and adolescent psychiatrist)
กุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาพัฒนาการและพฤติกรรม (Developmental and Behavioral pediatrician)
นอกจากนี้ยังมีบุคลากรสหวิชาชีพร่วมปฏิบัติงานด้วยได้แก่
นักจิตวิทยาคลินิกและนักจิตวิทยาพัฒนาการ (Psychologist) ซึ่งทำฝึกการเล่นเพื่อการบำบัดบำบัด (Play therapy)
นักกิจกรรมบำบัด (Occupational therapist)
นักแก้ไขการพูด (Speech-language pathologist , Speech therapist)
ครูการศึกษาพิเศษ (Special educator)
4. การรักษา โรคที่รักษาได้
สมาธิสั้น
ออทิสติก
พัฒนาการช้า ไม่สมวัย
5. หัตถการที่ทำได้
ตรวจพัฒนาการ
ตรวจไอคิว
ตรวจ Denver
ตรวจการได้ยิน
6. เครื่องมือที่โดนเด่น
-
7. แพ็กเกจที่มีในปัจจุบัน
ตรวจสมาธิสั้น
ตรวจพัฒนาการ
ตรวจการได้ยิน